หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้อยู่ในระหว่างสอบกลางภาค-ช่วงวันหยุดปีใหม่ จึงงดการเรียนการสอน
ฉันจึงสรุปความรู้ดังนี้
แฟ้มสะสมงาน วิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 6 วันที่ 8 ธันวาคม 2555
การจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์
1. การนับ ครูหยิบดอกไม้ขึ้นมาครั้งละ 1 ดอก ให้เด็กๆนับ 1-10
2. ตัวเลข ครูหยิบดอกไม้จำนวนกี่ดอกก็ได้ แล้วถามเด็กๆว่า ดอกไม้ในมือคุณครูมีกี่ดอก
3. การจับคู่ ครูเตรียมดอกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกล้วยไม้ ดอกลิลลี่ อย่างละ 2 ดอก ใส่ไว้ในตะกร้า แล้วให้เด็กๆจับคู่ดอกไม้ที่มีลักษณะรูปร่างเหมือนกันไว้ด้วยกัน
4. การจัดประเภท คุณครูให้เด็กแยกดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และลักษณะที่เป็นช่อให้ใส่แยกลงในตะกร้า
5. การเปรียบเทียบ คุณครูมีดอกกุหลาบ 5 ดอก ดอกดาวเรือง 3 ดอก คุณครูให้เด็กๆเปรียบเทียบว่า ดอกอะไรมีจำนวณมากกว่ากัน โดยให้เด็กๆจับคู่ดอกกุหลาบ : ดอกมะลิ ในสัดส่วน 1:1 เมื่อดอกไม้ชนิดใดเหลือแสดงว่าดอกไม้ชนิดนั้นมีจำนวนมากกว่า
6. การจัดลำดับ คุณครูเตรียมดอกไม้ 3 มัด ดังนี้
มัดที่ 1 ดอกกุหลาบ 1 ดอก
มัดที่ 2 ดอกมะลิ 5 ดอก
มัดที่ 3 ดอกดาวเรือง 3 ดอก
ให้เด็กๆเรียงลำดับจำนวนน้อยไปหาดอกไม้ที่มีจำนวนมาก
7. รูปทรงและเนื้อที่ คุณครูสอนเด็กๆทำขนมชั้น จึงคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในกระบอกตวง จากนั้นให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญว่ามีปริมาตรเท่าไร
8. การวัด คุณครูมีกุหลาบจำนวน 3 ดอก แต่ละดอกมีก้านที่ยาวไม่เท่ากัน คุณครูให้เด็กๆใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของก้านดอกกุหลาบ และหาว่าก้านกุหลาบก้านใดยาวที่สุด
9. เซต คุณครูมีดอกไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ดอกดาวเรือง ดอกบานบุรี และดอกทานตะวัน ซึ่งดอกไม้ทั้ง 3 ชนิดนี้มีสีเหลืองเหมือนกัน และใส่รวมไว้ในตะกร้าเดียวกัน คุณครูให้เด็กๆแยกดอกไม้แต่ละชนิดออกจากกัน โดยเด็กๆจะต้องเลือกหยิบดอกไม้ที่เป็นชนิดเดียวกันมาไว้ด้วยกัน
10. เศษส่วน ดอกดาวเรือง 1 ช่อ มี 4 ดอก ให้เด็กๆแบ่งดอกไม้ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน แล้วคุณครูหยิบออกมาให้เด็กๆ 1 ส่วน แสดงว่าคุณครูหยิบดอกไม้ออกมา 1 ใน 2 ของดอกไม้ทั้งหมด
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย คุณครูวาดดอกกล้วยไม้ให้เด็กๆดู ดอกกล้วยไม้ 1 ดอกจะมีจำนวน 5 กลีบ เด็กๆจะต้องวาดตามคุณครู และเด็กๆสามารถระบายสีตามใจชอบ
12. การอนุรักษ์ คุณครูคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในแก้ว 2 ใบ ซึ่งแต่ละใบมีปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญเท่ากัน จากนั้นคุณครูเทน้ำดอกอัญชัญแก้วที่ 2 ใส่ลงในแก้วใบที่ 3 ซึ่งมีรูปทรงสูง และขนาดแคบกว่า คุณครูให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำในแก้วทั้งสอง แล้วถามว่าปริมาตรน้ำในแก้วใบที่ 3 แตกต่างจากน้ำในแก้วใบที่ 1 หรือไม่ เด็กๆจะสังเกตจากระดับน้ำตามที่ตาเห็น
-อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนนำกล่องมาคนละ 1 กล่อง สอนในเรื่องของการใช้สื่อกล่องในการสอนความรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก
-แบ่งกลุ่ม จำนสน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ใช้กล่องของแต่ละคน มาต่อรวมกันเป็นรูปอะไรก็ได้โดยมีข้อแม้ดังนี้
กลุ่มที่ 1 สามารถพูดคุยปรึกษากันได้
กลุ่มที่ 2 ห้ามพูดคุยกัน
กลุ่มที่ 3 สามารถพูดได้ทีละคน
หมวด ดอกไม้
1. การนับ ครูหยิบดอกไม้ขึ้นมาครั้งละ 1 ดอก ให้เด็กๆนับ 1-10
2. ตัวเลข ครูหยิบดอกไม้จำนวนกี่ดอกก็ได้ แล้วถามเด็กๆว่า ดอกไม้ในมือคุณครูมีกี่ดอก
3. การจับคู่ ครูเตรียมดอกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกล้วยไม้ ดอกลิลลี่ อย่างละ 2 ดอก ใส่ไว้ในตะกร้า แล้วให้เด็กๆจับคู่ดอกไม้ที่มีลักษณะรูปร่างเหมือนกันไว้ด้วยกัน
4. การจัดประเภท คุณครูให้เด็กแยกดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และลักษณะที่เป็นช่อให้ใส่แยกลงในตะกร้า
5. การเปรียบเทียบ คุณครูมีดอกกุหลาบ 5 ดอก ดอกดาวเรือง 3 ดอก คุณครูให้เด็กๆเปรียบเทียบว่า ดอกอะไรมีจำนวณมากกว่ากัน โดยให้เด็กๆจับคู่ดอกกุหลาบ : ดอกมะลิ ในสัดส่วน 1:1 เมื่อดอกไม้ชนิดใดเหลือแสดงว่าดอกไม้ชนิดนั้นมีจำนวนมากกว่า
6. การจัดลำดับ คุณครูเตรียมดอกไม้ 3 มัด ดังนี้
มัดที่ 1 ดอกกุหลาบ 1 ดอก
มัดที่ 2 ดอกมะลิ 5 ดอก
มัดที่ 3 ดอกดาวเรือง 3 ดอก
ให้เด็กๆเรียงลำดับจำนวนน้อยไปหาดอกไม้ที่มีจำนวนมาก
7. รูปทรงและเนื้อที่ คุณครูสอนเด็กๆทำขนมชั้น จึงคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในกระบอกตวง จากนั้นให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญว่ามีปริมาตรเท่าไร
8. การวัด คุณครูมีกุหลาบจำนวน 3 ดอก แต่ละดอกมีก้านที่ยาวไม่เท่ากัน คุณครูให้เด็กๆใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของก้านดอกกุหลาบ และหาว่าก้านกุหลาบก้านใดยาวที่สุด
9. เซต คุณครูมีดอกไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ดอกดาวเรือง ดอกบานบุรี และดอกทานตะวัน ซึ่งดอกไม้ทั้ง 3 ชนิดนี้มีสีเหลืองเหมือนกัน และใส่รวมไว้ในตะกร้าเดียวกัน คุณครูให้เด็กๆแยกดอกไม้แต่ละชนิดออกจากกัน โดยเด็กๆจะต้องเลือกหยิบดอกไม้ที่เป็นชนิดเดียวกันมาไว้ด้วยกัน
10. เศษส่วน ดอกดาวเรือง 1 ช่อ มี 4 ดอก ให้เด็กๆแบ่งดอกไม้ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน แล้วคุณครูหยิบออกมาให้เด็กๆ 1 ส่วน แสดงว่าคุณครูหยิบดอกไม้ออกมา 1 ใน 2 ของดอกไม้ทั้งหมด
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย คุณครูวาดดอกกล้วยไม้ให้เด็กๆดู ดอกกล้วยไม้ 1 ดอกจะมีจำนวน 5 กลีบ เด็กๆจะต้องวาดตามคุณครู และเด็กๆสามารถระบายสีตามใจชอบ
12. การอนุรักษ์ คุณครูคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในแก้ว 2 ใบ ซึ่งแต่ละใบมีปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญเท่ากัน จากนั้นคุณครูเทน้ำดอกอัญชัญแก้วที่ 2 ใส่ลงในแก้วใบที่ 3 ซึ่งมีรูปทรงสูง และขนาดแคบกว่า คุณครูให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำในแก้วทั้งสอง แล้วถามว่าปริมาตรน้ำในแก้วใบที่ 3 แตกต่างจากน้ำในแก้วใบที่ 1 หรือไม่ เด็กๆจะสังเกตจากระดับน้ำตามที่ตาเห็น
กิจกรรมการเรียนการสอนในวันนี้
-อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนนำกล่องมาคนละ 1 กล่อง สอนในเรื่องของการใช้สื่อกล่องในการสอนความรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก
-แบ่งกลุ่ม จำนสน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ใช้กล่องของแต่ละคน มาต่อรวมกันเป็นรูปอะไรก็ได้โดยมีข้อแม้ดังนี้
กลุ่มที่ 1 สามารถพูดคุยปรึกษากันได้
กลุ่มที่ 2 ห้ามพูดคุยกัน
กลุ่มที่ 3 สามารถพูดได้ทีละคน
วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 4 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555
เนื่องจากวันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เป็นวันจัดกิจกรรมกีฬาสีของคณะศึกษาศาสตร์จึงงดการเรียนการสอนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสีตั้งแตเวลา 08.00-17.00 น.
ฉันได้อยู่ในคณะสีส้ม ทำหน้าที่เป็นกองเชียร์ และแข่งขันได้รางวัลชนะเลิศด้วยนะ
ฉันได้อยู่ในคณะสีส้ม ทำหน้าที่เป็นกองเชียร์ และแข่งขันได้รางวัลชนะเลิศด้วยนะ
วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤศจิกายน 2555
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นกลุ่มกลุ่มละ 3 คน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้ไปศึกษามา จากนั้นให้นักศึกษาสรุปความรู้ตามความเข้าใจ
กลุ่มของฉันสรุปได้ดังนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์หมายถึง การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ใช้ในการวิเคราะห์การเรียนรู้ การแก้ปัญหาที่ยุ่งยากและซับซ้อน อีกทั้งคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทืองปัญญา ในวิชาที่ว่าด้วยการคำนวณ การคาดคะเน เลขคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ เลขาคณิตนี้นำไปวิเคราะห์สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และเลือกใช้กลวิธีในการศึกษาให้เหมาะสม
อ้างอิง ความคิดเชิงวิเคราะห์.ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ศักดา บุญโต.2527
การสร้างชุดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนอนุบาลปีที่ 3. ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี.2542
คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา.ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์มยุรี ณะฤทธิ์.2538
2.จุดมุ่งหมาย
1) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจแนวความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์อย่างสมบูรณ์ สามารถนำเอาไปเป็นเครื่องมือในการสื่อสารและการเรียนรู้ได้
2) เพื่อให้รู้จักการใช้กระบวนการหาคำตอบ สร้างพื้นฐานการคิดคำนวณ ซึ่งอาจเรียกว่าความเข้าใจในคณิตศาสตร์
3) เพื่อให้เข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เรียนรู้แสดงความหมาย คำพูด สัญลักษณ์ เข้าใจศัพท์ ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์
4) เพื่อฝึกฝนให้เกิดทักษะ สามารถแก้ปัญหาได้ ทำคณิตศาสตร์ได้
5) เพื่อให้เด็กมีความรู้และค้นคว้าทดลองหาคำตอบด้วยตนเอง
อ้างอิง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย.นิตยา ประพฤติกิจ.2541.
วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์สำเร็จรูป.รองศาสตราจารย์วรรณี โสมประยูร.2540
3.การสอนหรือการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
1) เด็กจะเรียนรู้จากการเล่นหรือกิจกรรม ฝึกแก้โจทย์ที่พบในชีวิตประจำวัน
2) ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนเกิดการนึกคิด แก้ปัญหา ทบทวน ตั้งสมาธิเพื่อเร้าความสนใจ
3) ตัวแปรทางคณิตศาสตร์มีความสำคัญ หลักการช่วยให้เด็กเข้าใจ มโมติทางคณิตศาสตร์ ควรใช้วิธีการหลายวิธี
4) การเสนอมโนมติ จากสภาพการณ์หลายสภาพที่จะนำไปใช้ เด็กต้องเข้าใจสิ่งที่สารถแทนได้หลายรูปแบบ
อ้างอิง รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร ธนะชัยขันธ์.2543.กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ 2010 และรองศาสตราจารย์ ดร. ประยูร ดาษานาม.2537
4. ขอบข่าย
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ บุคคลที่มีความสำคัญที่สุดคือครูผู้สอน ซึ่งครูผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก ครูจะต้องรู้ระดับการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อที่จะได้เลือกวิธีสอน ให้เหมาะสมกับเนื้อหา วัย และความสามารถของผู้เรียน ซึ่งครูอาจจะใช้สื่อที่เป็นรูปธรรมประกอบคำอธิบายประกอบด้วยเนื้อหาสาระ เช่น การนับ ตัวเลข การบวก การลบ
อ้างอิง วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา.สุวร กาญจนมยูร.2532
คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปรฐมวัย.นิตยา ประพฤติกิจ.2542
5) หลัการสอนคณิตศาสตร์
1) ต้องสอนให้ผู้เรียนคิดเป็น คิดเร็ว
2) ต้องมีเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ให้เร็ว
3) กำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนให้ดี
4) ต้องจัดกิจกรรมในการเรียนให้หลากหลาย
5) จัดให้มีระบบและรู้จักการค้นพบ
6) การฝึกหัดต้องได้กระทำและเข้าใจ
อ้างอิง เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา.สุวร กาญจนมยูร.2532
วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
กลุ่มของฉันสรุปได้ดังนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์หมายถึง การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ใช้ในการวิเคราะห์การเรียนรู้ การแก้ปัญหาที่ยุ่งยากและซับซ้อน อีกทั้งคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทืองปัญญา ในวิชาที่ว่าด้วยการคำนวณ การคาดคะเน เลขคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ เลขาคณิตนี้นำไปวิเคราะห์สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และเลือกใช้กลวิธีในการศึกษาให้เหมาะสม
อ้างอิง ความคิดเชิงวิเคราะห์.ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ศักดา บุญโต.2527
การสร้างชุดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนอนุบาลปีที่ 3. ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี.2542
คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา.ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์มยุรี ณะฤทธิ์.2538
2.จุดมุ่งหมาย
1) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจแนวความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์อย่างสมบูรณ์ สามารถนำเอาไปเป็นเครื่องมือในการสื่อสารและการเรียนรู้ได้
2) เพื่อให้รู้จักการใช้กระบวนการหาคำตอบ สร้างพื้นฐานการคิดคำนวณ ซึ่งอาจเรียกว่าความเข้าใจในคณิตศาสตร์
3) เพื่อให้เข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เรียนรู้แสดงความหมาย คำพูด สัญลักษณ์ เข้าใจศัพท์ ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์
4) เพื่อฝึกฝนให้เกิดทักษะ สามารถแก้ปัญหาได้ ทำคณิตศาสตร์ได้
5) เพื่อให้เด็กมีความรู้และค้นคว้าทดลองหาคำตอบด้วยตนเอง
อ้างอิง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย.นิตยา ประพฤติกิจ.2541.
วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์สำเร็จรูป.รองศาสตราจารย์วรรณี โสมประยูร.2540
3.การสอนหรือการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
1) เด็กจะเรียนรู้จากการเล่นหรือกิจกรรม ฝึกแก้โจทย์ที่พบในชีวิตประจำวัน
2) ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนเกิดการนึกคิด แก้ปัญหา ทบทวน ตั้งสมาธิเพื่อเร้าความสนใจ
3) ตัวแปรทางคณิตศาสตร์มีความสำคัญ หลักการช่วยให้เด็กเข้าใจ มโมติทางคณิตศาสตร์ ควรใช้วิธีการหลายวิธี
4) การเสนอมโนมติ จากสภาพการณ์หลายสภาพที่จะนำไปใช้ เด็กต้องเข้าใจสิ่งที่สารถแทนได้หลายรูปแบบ
อ้างอิง รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร ธนะชัยขันธ์.2543.กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ 2010 และรองศาสตราจารย์ ดร. ประยูร ดาษานาม.2537
4. ขอบข่าย
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ บุคคลที่มีความสำคัญที่สุดคือครูผู้สอน ซึ่งครูผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก ครูจะต้องรู้ระดับการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อที่จะได้เลือกวิธีสอน ให้เหมาะสมกับเนื้อหา วัย และความสามารถของผู้เรียน ซึ่งครูอาจจะใช้สื่อที่เป็นรูปธรรมประกอบคำอธิบายประกอบด้วยเนื้อหาสาระ เช่น การนับ ตัวเลข การบวก การลบ
อ้างอิง วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา.สุวร กาญจนมยูร.2532
คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปรฐมวัย.นิตยา ประพฤติกิจ.2542
5) หลัการสอนคณิตศาสตร์
1) ต้องสอนให้ผู้เรียนคิดเป็น คิดเร็ว
2) ต้องมีเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ให้เร็ว
3) กำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนให้ดี
4) ต้องจัดกิจกรรมในการเรียนให้หลากหลาย
5) จัดให้มีระบบและรู้จักการค้นพบ
6) การฝึกหัดต้องได้กระทำและเข้าใจ
อ้างอิง เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา.สุวร กาญจนมยูร.2532
วิธีการสอนและวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา.สุรชัย ขวัญเมือง.2522
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 2 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา Link Blog ของแต่ละคน
อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นดังนี้
1. หาหนังสือเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
2. หาความหมายของคณิตศาสตร์
3. หาจุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์
4. การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์มีทฤษฎีอะไรบ้าง
5. ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
6. หลักการสอนคณิตศาสตร์
ปัญหาที่พบคือยังไม่สามารถหาความหมายและขอบข่ายของคณิตศาสตร์ได้
สรุปความรู้
กิจกรรม
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 1 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555
วันนี้เข้าเรียนวันแรก อาจารย์ก็อธิบายเกี่ยวกับรายวิชา สร้างข้อตกลงในชั้นเรียน คือจะปล่อยนักศึกษาก่อนเป็นเวลา 40 นาที ซึ่งจะเลิกเรียนในเวลา 16.50 น. มีข้อแม้ว่านักศึกษาจะต้องทำบล็อกส่งในวันเสาร์ของทุกสัปดาห์
สรุปความรู้ได้ดังนี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)